ក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃ៖ ភាពខុសគ្នារវាងកំណែនានា

ពីវិគីភីឌា
ខ្លឹមសារដែលបានលុបចោល ខ្លឹមសារដែលបានសរសេរបន្ថែម
fixing dead links
Remove Thai content, and translate from enwiki
បន្ទាត់ទី១៖ បន្ទាត់ទី១៖
{{Notkhmer}}
{{Notkhmer}}
'''ក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃ''' គឺជា[[ក្រុមភាសា]]របស់[[វណ្ណយុត្តិ (ភាសាវិទ្យា)|ភាសាសំនៀង]]ដែលមាននៅក្នុង[[អាស៊ីអាគ្នេយ៍ដីគោក]], ភាគខាងត្បូងប្រទេស[[ចិន]] និង[[ភាគឦសានរបស់ប្រទេសឥណ្ឌា]]​ ភាសា​ទាំង​នោះ​រួម​មាន​[[​ភាសា​ថៃ|ភាសា​ថៃ]] និង[[ភាសា​ឡាវ]] ជា​ភាសា​ជាតិ​របស់​ប្រទេស​ថៃ និង​ឡាវ​រៀង​ខ្លួន<ref>Diller, Anthony, Jerry Edmondson, Yongxian Luo. (2008). ''The Tai–Kadai Languages''. London [etc.]: Routledge. {{ISBN|978-0-7007-1457-5}}</ref> ប្រជាជន​ប្រមាណ ៩៣ ​លាន​នាក់​និយាយ​ភាសាក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃក្នុង​នោះ ៦០% និយាយ​ភាសា​ថៃ។<ref>{{Cite web|url=http://www.languagesgulper.com/eng/Taikadai.html|title=Taikadai|website=www.languagesgulper.com|language=en|access-date=2017-10-15}}</ref> [[ជាតិពន្ធុវិទ្យា]]រាយបញ្ជី ៩៥ ភាសាក្នុងគ្រួសារ ដោយ ៧២ ភាសាទាំងនេះស្ថិតនៅក្នុងសាខាតៃ<ref>{{cite web|url=http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=818-16|title=Ethnologue Tai–Kadai family tree}}</ref>
[[ឯកសារ:Taikadai-en.svg|300px|thumb|ផែនទី​នេះ​បង្ហាញ​តំបន់​ដែល​និយាយ​ភាសា​មួយ​ក្នុង​ក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃ
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
{{legend|blue|กระ}}
{{legend|#DB4FFF|คำ-สุย}}
{{legend|#B000A6|เบ}}
{{legend|#80FF00|ไหล}}
{{Col-2}}
{{legend|#FFEC19|ไตเหนือ}}
{{legend|#FF4C00|ไตกลาง}}
{{legend|#FF9D00|ไตตะวันตกเฉียงใต้}}
{{Col-end}}
]]


== ឯកសារយោង ==
'''ក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃ''' หรือรู้จักกันในนามหรือ '''กะได''' หรือ '''กระได''' เป็น[[ตระกูลภาษา]]ของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]และตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]] ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไทกะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ใน[[ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต]] แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับ[[ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน]] โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก


Roger Blench ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน [[กลุ่มภาษากะได]]อาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจาก[[ฟิลิปปินส์]]ไปสู่[[เกาะไหหลำ]] แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและ[[ภาษาจีน]]

ข้อเสนอของ Laurent Sagart ได้กล่าวว่าภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของ[[ไต้หวัน]]ไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมใน[[ยุคก่อนประวัติศาสตร์]]และอื่นๆที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก

ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]]บ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็น [[ประเทศไทย]] และ [[ลาว]]บริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาใน[[ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก]]

== ภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ==
ตระกูลภาษาไท-กะไดประกอบด้วยกลุ่มภาษาที่จัดแบ่งไว้ 5 สาขา ดังนี้
* [[กลุ่มภาษากระ]] (อาจเรียกว่า กะได หรือ เก-ยัง)
* [[กลุ่มภาษาคำ-สุย]] (จีนแผ่นดินใหญ่ อาจเรียกว่า ตง-สุย)
* [[กลุ่มภาษาไหล]] (เกาะไหหลำ)
* [[กลุ่มภาษาไต]] (จีนตอนใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
* [[ภาษาอังเบ]] (เกาะไหหลำ อาจเรียกว่า [[ภาษาเบ]])
การจัดแบ่งนี้ใช้พื้นฐานจากคำศัพท์จำนวนมากที่ใช้ร่วมกัน สาขาคำ-[[สุย]] [[เบ]] และ[[ไต]] มักถูกจัดให้อยู่รวมกัน (ดูเพิ่มที่[[กลุ่มภาษาคำ-ไต]]) อย่างไรก็ตามการจัดแบ่งเช่นนี้มีความเห็นที่โต้แย้ง ด้วยสาเหตุว่าอาจเป็นการแทนที่คำในสาขาอื่น และความคล้ายเชิงสัณฐานวิทยาได้แนะนำให้จัดสาขากระกับคำ-สุย เป็นกลุ่มกะไดเหนือทางหนึ่ง และสาขาไหลกับไต เป็นกลุ่มกะไดใต้อีกทางหนึ่ง ดังภาพ ตำแหน่งของภาษาอังเบในข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ถูกพิจารณาไปด้วย
{{clade
|label1=กะได
|1={{clade
|label1={{nowrap|กะไดเหนือ}}
|1={{clade
|1=กระ
|2=คำ-สุย
}}
|label2={{nowrap|กะไดใต้}}
|2={{clade
|1=ไหล
|2=ไต
|label3=?
|3=อังเบ
}}
}}
}}
ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ ไต กับ กะได ซึ่งเลิกใช้แล้ว กลุ่มภาษากะไดเช่นนี้ถ้ามีกลุ่มภาษาไตอยู่ด้วยจึงจะหมายถึงกลุ่มที่ถูกต้อง ในบางบริบทคำนี้อ้างถึงตระกูลภาษาทั้งหมด แต่บางบริบทก็หมายถึงกลุ่มภาษากระภายใต้ตระกูลภาษานั้น

=== กลุ่มภาษาไหล ===
* [[ภาษาเจียมาว]] (Jiamao) เจียมาว (ไหหลำ)
* [[ภาษาไหล]] (Hlai) (ไหหลำ)

=== [[กลุ่มภาษากระ]] ===
* Yerong (จีนแผ่นดินใหญ่)
* ภาษา[[เกลาว]] (Gelao) (เวียดนาม)
* ภาษา[[ลาติ]] (Lachi หรือ Lati) (เวียดนาม) <!-- ศมส ใช้ ลาติ ในภาษาไทย ดูเพิ่มอ้างอิง -->
* ภาษา[[ลาติขาว]] (White Lachi) (เวียดนาม)
* ภาษา[[ปู้ยัง]] (Buyang) (จีนแผ่นดินใหญ่)
* ภาษา[[จุน]] (Cun) (ไหหลำ)
* ภาษา[[เอน]] (En) (เวียดนาม)
* [[ภาษากวาเบียว]] (Qabiao) (เวียดนาม)
* ภาษา[[ลาคัว]] (Laqua) (เวียดนาม) <!-- ศมส ใช้ ลาคัว แทน ละควา ในภาษาไทย ดูเพิ่มอ้างอิง -->
* ภาษา[[ลาฮา]] (Laha) (เวียดนาม) <!-- ศมส ใช้ ลาฮา แทน ละหา ในภาษาไทย ดูเพิ่มอ้างอิง -->

=== กลุ่มภาษาไต ===
* กลุ่มภาษาไตเหนือ
** [[ภาษาแสก]] (ลาว)
** [[ภาษาเย]] (Yay) (ไทย)
** [[ภาษาจ้วงเหนือ]] (จีน)
** [[ภาษาปูยี]] (Buyi) (จีน)
** [[Tai Mène language|Tai Mène]] (ลาว)
** [[E language|E]] (จีน)
* กลุ่มภาษาไตกลาง
** [[ภาษาจ้วงใต้]] (จีน)
** [[ภาษาม่านเชาลาน]] (เวียดนาม)
** [[ภาษานุง]] (เวียดนาม)
** [[ภาษาต่าย]] (Tho) (เวียดนาม)
** [[ภาษาซึนลาว]] (Ts'ün-Lao) (เวียดนาม)
** [[ภาษานาง]] (เวียดนาม)
* กลุ่มภาษาไตตะวันตกเฉียงใต้
** [[ภาษาไทหย่า]] (จีน)
** [[ภาษาพูโก]] (ลาว)
** [[ภาษาปาดี]] (จีน)
** [[ภาษาไทตรันห์]] (เวียดนาม)
** [[ภาษาต่ายสาพา]] (Tày Sa Pa) (เวียดนาม)
** [[ภาษาไทโหลง]] (ไทหลวง) (ลาว)
** [[ภาษาไตฮ้องจีน]] (จีน)
** [[ภาษาตุรุง]] (อินเดีย)
** [[ภาษายอง]] (ไทย)
** [[ภาษาไทยถิ่นใต้]] (ปักษ์ใต้) (ไทย)
** กลุ่มภาษาไตกลาง-ตะวันออก
*** กลุ่มภาษาเชียงแสน
**** [[ภาษาไทดำ]] (เวียดนาม)
**** [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ]] (ภาษาล้านนา, ภาษาไทยวน) (ไทย, ลาว)
**** [[ภาษาพวน]] (ไทย)
**** [[ภาษาไทโซ่ง]] (ไทย)
**** [[ภาษาไทย]] (ไทย)
**** [[ภาษาไทฮ่างตง]] (เวียดนาม)
**** [[ภาษาไทขาว]] (ภาษาไทด่อน) (เวียดนาม)
**** [[ภาษาไทแดง]] (ภาษาไทโด) (เวียดนาม)
**** [[ภาษาต่ายตั๊ก]] (เวียดนาม)
**** [[ภาษาตูลาว]] (เวียดนาม)
*** กลุ่มภาษาลาว-ผู้ไท
**** [[ภาษาลาว]] (ลาว)
**** [[ภาษาญ้อ]] (ไทย)
**** [[ภาษาผู้ไท]] (ไทย)
**** [[ภาษาอีสาน]] (ภาษาไทยถิ่นอีสาน) (ไทย, ลาว)
*** กลุ่มภาษาไตตะวันตกเฉียงเหนือ (พายัพ)
**** [[ภาษาอาหม]] (รัฐอัสสัม - [[ภาษาอัสสัม]]ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวอาหมใช้ในปัจจุบัน จัดอยู่ใน[[ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน]])
**** [[ภาษาอ่ายตน]] (รัฐอัสสัม)
**** [[ภาษาลื้อ]] (ภาษาไทลื้อ) (จีน, เวียดนาม, ไทย, ลาว, พม่า)
**** [[ภาษาคำตี่]] (รัฐอัสสัม, พม่า)
**** [[ภาษาเขิน]] (พม่า)
**** [[ภาษาคำยัง]] (รัฐอัสสัม)
**** [[ภาษาพ่าเก]] (รัฐอัสสัม)
**** [[ภาษาไทใหญ่]] (ภาษาฉาน) (พม่า)
**** [[ภาษาไทไต้คง]] (ภาษาไทเหนือ) (จีน, เวียดนาม, ไทย, ลาว)

=== กลุ่มภาษาคำ-สุย ===
* กลุ่มภาษาลักเกีย-เบียว (จีนแผ่นดินใหญ่)
** ภาษาลักเกีย (Lakkia)
** [[ภาษาเบียว]]
* ภาษาคำ-สุย (จีนแผ่นดินใหญ่)
** [[ภาษาอ้ายจาม]] (Ai-Cham)
** [[Cao Miao language|Cao Miao]]
** ภาษาต้งเหนือ (Northern Dong)
** ภาษาต้งใต้ (Southern Dong)
** ภาษาคัง (Kang)
** [[Mak language|Mak]]
** ภาษามู่หลาม (Mulam)
** ภาษาเมาหนาน (Maonan)
** ภาษาสุย (Sui)
** [[T’en language|T’en]]

== อ้างอิง ==
* Edmondson, J.A. and D.B. Solnit eds. 1997. ''Comparative Kadai: the Tai branch''. Dallas: Summer Institute of Linguistics and the University of Texas at Arlington.
* Ostapirat, Weera. 2005. "Kra-Dai and Austronesian: Notes on phonological correspondences and vocabulary distribution", pp. 107–131 in Sagart, Laurent, Blench, Roger & Sanchez-Mazas, Alicia (eds.), ''The Peopling of East Asia: Putting Together Archaeology, Linguistics and Genetics.'' London/New York: Routledge-Curzon.
* [http://web.archive.org/web/20060304152930/http://homepage.ntlworld.com/roger_blench/Language%20data/Geneva%20paper%202004.pdf Roger Blench] (PDF format)
* [http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=90192 Ethnologue report] Retrieved [[3 August]] [[2005]].
* [[ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน)]]. นิทรรศการถาวร กลุ่มชาติพันธุ์ และโบราณคดี (ชั้น 5)

{{ตระกูลภาษามีคนพูดมาก 10 อันดับ}}
{{ภาษาไทกะได}}


[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาไท-กะได| ]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาไท-กะได| ]]

កំណែនៅ ម៉ោង១៥:២៣ ថ្ងៃច័ន្ទ ទី១៤ ខែកុម្ភៈ ឆ្នាំ២០២២

ក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃ គឺជាក្រុមភាសារបស់ភាសាសំនៀងដែលមាននៅក្នុងអាស៊ីអាគ្នេយ៍ដីគោក, ភាគខាងត្បូងប្រទេសចិន និងភាគឦសានរបស់ប្រទេសឥណ្ឌា​ ភាសា​ទាំង​នោះ​រួម​មាន​ភាសា​ថៃ និងភាសា​ឡាវ ជា​ភាសា​ជាតិ​របស់​ប្រទេស​ថៃ និង​ឡាវ​រៀង​ខ្លួន[១] ប្រជាជន​ប្រមាណ ៩៣ ​លាន​នាក់​និយាយ​ភាសាក្រុម​ភាសា​ថៃកៈដៃក្នុង​នោះ ៦០% និយាយ​ភាសា​ថៃ។[២] ជាតិពន្ធុវិទ្យារាយបញ្ជី ៩៥ ភាសាក្នុងគ្រួសារ ដោយ ៧២ ភាសាទាំងនេះស្ថិតនៅក្នុងសាខាតៃ[៣]

ឯកសារយោង

  1. Diller, Anthony, Jerry Edmondson, Yongxian Luo. (2008). The Tai–Kadai Languages. London [etc.]: Routledge. ISBN 978-0-7007-1457-5
  2. "Taikadai". www.languagesgulper.com (in អង់គ្លេស). Retrieved 2017-10-15.
  3. "Ethnologue Tai–Kadai family tree".